อาจารย์ ดร.มนต์ธัช มะกล่ำทอง

อาจารย์ ดร.มนต์ธัช มะกล่ำทอง

Montouch Maglumtong, Ph.D.

ติดต่อ: ห้อง 305 ชั้น 3 อาคารนวมินทร์ 1 วิทยาลัยพัฒนามหานคร มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
Email: montouch@nmu.ac.th

มนต์ธัช มะกล่ำทอง ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประวิทยาลัยพัฒนามหานคร มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช มีประสบการณ์การสอนและทำวิจัยในด้านการพัฒนาที่อยู่อาศัยและอสังหาริมทรัพย์ การสร้างสรรค์สภาวะแวดล้อมเมือง การตั้งถิ่นฐานมนุษย์ การวางแผนและนโยบายเมือง รวมถึงการพัฒนาที่ไม่ทิ้งใครไว้เบื้องหลังซึ่งเป็นประเด็นสำคัญในการพัฒนาเมือง

มนต์ธัช มะกล่ำทอง สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีสถาปัตยกรรมศาสตร์จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปริญญาโทด้านการพัฒนาที่อยู่อาศัยและอสังหาริมทรัพย์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และปริญญาเอกด้าน Urban Science ที่ Meijo University ประเทศญี่ปุ่น มีประสบการณ์สอนและทำงานวิจัยเป็นเวลา 3 ปีที่ภาควิชาเคหการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อนที่จะได้รับทุน VLIR-UOS จากรัฐบาลเบลเยี่ยมไปศึกษาต่อระดับปริญญาโททางด้าน Human Settlements ณ Katholieke Universiteit Leuven และทุน Meijo University Doctoral Scholarship Program for Asian University Faculty เพื่อศึกษาต่อทางด้าน Urban Science ที่ประเทศญี่ปุ่น

  • Ph.D. (Urban Science) Meijo University, Japan
  • M.Sc. (Human Settlements) Katholieke Universiteit Leuven, Belgium
  • คพ.ม. (การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • สถ.บ. (สถาปัตยกรรม) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • การพัฒนาที่อยู่อาศัยและอสังหาริมทรัพย์
  • การสร้างสรรค์สภาวะแวดล้อมเมือง
  • การตั้งถิ่นฐานมนุษย์
  • การวางแผนและนโยบายเมือง
  • การพัฒนาที่ไม่ทิ้งใครไว้เบื้องหลัง
  • อาจารย์ ภาควิชาการบริหารและจัดการเมือง วิทยาลัยพัฒนามหานคร มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
  • คณะทำงานยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
  • อาจารย์พิเศษ ภาควิชาเคหการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ผู้ช่วยนักวิจัย ภาควิชาเคหการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ภาคีสถาปนิก
  • Maglumtong, M. and Fukushima, S. (2020). Transformation in street food vending in modernizing Bangkok: Trading pattern, vendor and product. Meijo Asian Research Journal, 10(1), 21 – 32.
  • กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์ และคณะ. (2563). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการความสอดคล้องระหว่างการพัฒนาที่อยู่อาศัยในพื้นที่ชานมหานครกรุงเทพกับปฏิญญาสากลด้านที่อยู่อาศัย Habitat III: กรณีศึกษา พื้นที่เมืองธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • Maglumtong, M. and Fukushima, S. (2019). Upgrading informal food service in modernizing Thailand: A case of Thailand street food program by Government Savings Bank. In Proceeding of the 15th International Conference of Asian and African City Planning (AACP2019). Tokyo: Association of Asian and African City Planning.
  • มนต์ธัช มะกล่ำทอง และคณะ. (2562). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดพื้นที่สำหรับอาหารหาบเร่แผงลอยในกรุงเทพมหานคร: กรณีศึกษาพื้นที่แนวรถไฟฟ้าในเขตราชเทวี และเขตพญาไท. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยพัฒนามหานคร มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช.
  • Maglumtong, M. and Fukushima, S. (2019). Contemporary street food vendors and their business in modernizing Bangkok under the ‘Return the walkway to the public’ policy, Thailand. In Proceeding of the International Conference of the Asian-Pacific Planning Societies 2019 (APPS2019). Seoul: Korea Planning Association.
  • Khotcharee, Q. and Maglumtong, M. (2019). Surviving forms of Bangkok street food vending after the ‘Return the walkway to the public’ policy. In Proceedings of SPACE international Conference 2019 on Sustainable Architecture, Planning and Urban Design (pp. 48 – 57). London: SPACE Studies Publications.
  • Maglumtong, M. (2018). Bangkok street food variety and its relationship in spatial aspect. In Proceeding of the Asian Conference on the Social Sciences (ACSS2018) (pp.73 – 86). Kobe: The International Academic Forum.
  • Maglumtong, M. (2017). Bangkok street food phenomenon. In Proceeding of the 5th International Urban Design Conference on Cities, People and Places (ICCPP-2017) Urbanization Futures: Policies, Strategies and Implications of Densifications of Cities (pp. 67 – 82). Colombo: Department of Architecture, University of Moratuwa.
  • กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์ และคณะ. (2558). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการพัฒนาการในการดำเนินงานโครงการอสังหาริมทรัพย์ ชุมชนและที่อยู่อาศัยของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์ และคณะ. (2558). บ้านเรือนเมืองสามน้ำ. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • Maglumtong, M. (2014). Impacts of the Crown Property Developments in the city of Bangkok: Two case studies. In Proceeding of the 2nd International Urban Design Conference on Cities, People and Places (ICCPP-2014) Reinventing Cities and Places (pp. 330 – 339). Colombo: Department of Architecture, University of Moratuwa.
  • Maglumtong, M. (2013). Relationship of housing ownership, housing condition and quality of life: A case of Soi Wat Lang Baan Community, Samut Songkhram Municipality. In Proceeding of the 3rd Khon Kaen University National and International Conference 2013 on Local Community: The Foundation of the Development of the ASEAN Community (pp. 21 – 27). Khon Kaen: Khon Kaen University.
  • Maglumtong, M. (2013). Improvement procedure guidelines for housing with various forms of ownership in Soi Wat Lang Baan Community, Muaeng Samut Songkhram Municipality. In Proceeding of the RGJ-PHD Congress XIV. Bangkok: The Royal Golden Jubilee Ph.D. Program, Thailand Research Fund.
  • ทุน Meijo University Scholarship Awarded for Doctoral Scholarship Program for Asian University Faculty (พ.ศ. 2562)
  • ทุน VLIR-UOS Scholarship จากรัฐบาลเบลเยี่ยมเพื่อศึกษาต่อใน International Course Programme in Human Settlements (พ.ศ. 2558)
  • รางวัล The 2nd Best Award of Oral Presentation in the International Conference on Sustainable Community Development – Local Community: The Foundation of Development in the ASEAN Economic Community (AEC) (พ.ศ. 2556)
  • ทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว. ด้านมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2555 (พ.ศ. 2555)

ระดับปริญญาตรี

  • 3030211 เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารจัดการเมือง
  • 3030212 การฝึกปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารจัดการเมือง
  • 3031424 มหานครเปรียบเทียบ